ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

กลุ่ม White Hat Hackers

เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม ที่ผ่านมาได้มีการลงมติเพื่อจะนำ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ตัวใหม่มาใช้งาน ซึ่งผลการโหวตเสียงก็นับเป็นเอกฉันท์กันเลยก็ว่าได้ เพราะในสภาไม่มีการคัดค้านเลย ล่าสุดกลุ่ม hackers นามว่า Anounymous เป็นกลุ่ม White Hat Hackers (Grey หรือ White ใครรู้บอกหน่อยแต่เขาบอกเขาเป็น White นะ) ออกมาเผยข้อมูลที่สามารถเจาะระบบ หรือ hack จากหน่วยงานของรัฐบาลไทยได้แล้ว และได้เปิดเผยบางส่วนออกมาทางทวิตเตอร์ แล้วแบบนี้ข้อมูลของเราทั้งหมดที่ถูกบันทึกไว้โดย พ.ร.บ. คอมฯ ใหม่จะมีชะตาเป็นอย่างไร..
@Blackplans Anonymous (จริงๆแล้ว @blackplans ไม่ใช่ official Account ของ Anonymous แต่ตอนหลัง ก็มา retweet ให้) ใน tweet กล่าวไว้ว่า “ดูเหมือนรัฐบาลไทยจะกำลังยุ่งอยู่กับการตามไล่ล่าพวกไม่เห็นด้วยที่แสดงความคิดเห็นของตัวเอง ส่วนเรา Anonymous ก็กำลังอ่านข้อมูลจากสำนักข่าวกรอง (NIA) ของคุณอยู่ “
มีความเคลื่อนไหวเพิ่มเติมว่ากลุ่ม Anonymous อ้างว่าสามารถเข้าถึงข้อมูลระดับ adminstration ของ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สตช. ได้แล้วครับ และมีการทวิตพร้อมข้อความจิกกัดว่า “รัฐบาลไทยต้องการจะควบคุม internet แต่พวกตำรวจกลับป้องกันข้อมูลของตัวเองไว้ไม่ได้ แล้วข้อมูลของพวกคุณจะปลอดภัยหรือถ้ามันอยู่ในมือพวกเขา ? ภายใต้ พ.ร.บ. คอมฯ ใหม่ “
เราเคยได้ข่าวน่าตกใจทั้งเรื่องของข้อมูลบัญชี Google Account (Gmail) หรือ Yahoo หลุดออกมาบนโลกอินเตอร์เน็ตโดยพวกเหล่าแฮคเกอร์ แล้วแบบนี้ถ้าทางรัฐเก็บข้อมูล แล้วยังมีเรื่องการขอให้ถอดรหัส (decrypt) แล้วข้อมูล traffic ทั้งหลายที่โดนเก็บไปจะปลอดภัยอยู่รึเปล่านะ …
ก็ต้องติดตามกันว่ารัฐบาลจะทำยังไงต่อไปกับเหตการร์แบบนี้ แต่เท่าที่ดู กลุ่ม Anonymous คงจะยังไม่หยุดเพียงเท่านี้แน่ๆ 
ที่มา : @blackplans 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

กลุ่ม แอนโนนีมัส (Anonymous) คือใคร?

กลุ่มแฮกเกอร์นิรนาม เครือข่ายนักเจาะระบบคอมพิวเตอร์ระหว่างประเทศ ที่เคลื่อนไหวโดยมีจุดประสงค์ทางการเมือง ฉายา “โรบินฮู้ดแห่งศตวรรษ 21" จากตำนานโรบินฮู้ด ปล้นคนรวย ช่วยเหลือคนจน ทวงคืนอิสรภาพด้วยธนู อาวุธเล็กๆ ในมือ… แอนโนนีมัส ปล้นสิ่งมีค่าในโลกออนไลน์ ซึ่งก็คือข้อมูลข่าวสาร ทวงคืนสิทธิเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูล ฉายา “อาชญากรไซเบอร์” ละเมิดข้อกฎหมาย คล้ายศาลเตี้ยที่ชี้ถูกผิดเพียงคนกลุ่มเดียว ที่มา ปี 2003 กลุ่มแฮกเกอร์อิสระรวมตัวกันผ่านเว็บบอร์ด 4chan เป้าหมายแฮกเพื่อความบันเทิง ปี 2008 เริ่มมีส่วนร่วมทางการเมือง โจมตีบริษัทรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่ VISA – MASTER CARD – PayPal – NASA ปี 2009 ปิดเว็บไซต์รัฐบาลอิหร่านในขณะมีการเลือกตั้ง และปิดเว็บไซต์ ปธน.ออสเตรเลีย ต่อต้านนโยบายกรองเว็บไซต์ของรัฐบาล ปี 2011 ปิดเว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ตูนีเซีย ต่อต้านนโยบายการเซ็นเซอร์ที่เกินกว่าเหตุ ผลงานในไทย 22 ตุลาคม 2015 : เจาะฐานข้อมูล CAT Telecom เข้าถึงบัญชีลูกค้ามากกว่าพันราย ต่อต้านนโยบายซิงเกิล เกตเวย์ 29 ตุลาคม 2015 :  นายกฯ บิ๊กตู่ โต้กลับ กล่าวในที่ประชุมสภาถึงหน่ว

มาล่องหน ซ่อนตัวเอง และลบตัวตนบนโลกอินเทอร์เน็ต

ปกติแล้วการใช้อินเทอร์เน็ต มีการทิ้งร่อยรอย ฝากรอยเท้าของเราเอาไว้บนโลกไซเบอร์ อย่าคิดว่าเราจะทำอะไรก็ได้ ไม่มีใครรู้หรอกว่าเราเป็นใคร จับไม่ได้หรอก แต่ถ้าแกะรอยจริงๆ ไม่ใช่เรื่องยากเลย ไม่เชื่อลอง เอาชื่อ นามสกุลจริง หรือเอาชื่อ Username / Nickname, ฉายาส่วนตัวของเรา ไปค้นใน Google สิครับ เผลอๆ บางคน เจอใน Wikipedia อีกต่างหาก เพราะใครก็เขียนบน Wikipedia ได้ รวมไปถึง Copy บทความ หรือเรื่องราวเราไปลงตามเวบบอร์ดต่างๆ หรืออาจไปเจออะไรที่เราไม่อยากเปิดเผยก็เป็นได้การสร้างตัวตนบนโลกออนไลน์ บนอินเทอร์เน็ตนั้น เคยมีคำพูดว่า เราอยากจะเป็นอะไรก็ได้ บนโลกออนไลน์เป็นแบบนึง บนโลกออนไลน์เป็นอีกแบบ เคยเห็นข่าวไหมครับ มือเกรียนคีย์บอร์ด แรงมาก แต่พอโดนจับ หน้าจอซื่อๆ นิ่มๆ มีเทคโนโลยี ก็ต้องมีการกำกับ ทำให้มีการเก็บข้อมูลในทุกพฤติกรรมการใช้งาน โดยจะมีการผูกด้วยเลข IP (IP Address) สามารถสืบหาตัวคนโพสต์ได้ จนมาถึงยุคนี้คือ Social Network ลองคิดตามว่า ข่าวดาราที่โดนขุด ขุดมาจากอินเทอร์เน็ต มันมีการเชื่อมโยงกันทั้งนั้นแหล่ะครับ แม้เจ้าตัวจะไม่บอกว่า IG นี้เป็นของใคร หรือเป็น Facebook ของใ

ข้อมูล การติดตามเฝ้าระวัง / บทความ / ประกาศแจ้งเตือน

แจ้งเตือนและข้อแนะนำสำหรับผู้ใช้ทั่วไป 2019-08-28 แถลงการณ์เตือนภัย กรณีตรวจพบฐานข้อมูลที่คาบเกี่ยวกับเว็บไซต์การพนัน ซึ่งมีข้อมูลของคนไทยอยู่ด้วย 2019-03-28 ระวังภัย ช่องโหว่ในโปรแกรม GeForce Experience เวอร์ชันต่ำกว่า 3.18 อาจถูกใช้เพื่อประมวลผลคำสั่งอันตรายได้ ควรอัปเดต (CVE-2019-5674) 2019-03-19 ระวังภัย ช่องโหว่ path traversal ใน WinRAR อาจถูกติดตั้งมัลแวร์ลงในเครื่องได้เมื่อขยายไฟล์บีบอัด (CVE-2018-20250) มีแพตช์แล้ว 2019-03-08 ระวังภัย ช่องโหว่ในเบราวเซอร์ Google Chrome ผู้ไม่หวังดีสามารถควบคุมเครื่องจากระยะไกล (CVE-2019-5786) มีแพตช์แล้ว 2018-05-30 แจ้งเตือนการแพร่ระบาดมัลแวร์ VPNFilter IoT botnet กระจายไปยัง 54 ประเทศทั่วโลก 2018-02-02 แจ้งเตือน มัลแวร์ขุดเงินดิจิทัลระบาดผ่านลิงก์ย่อ ประเทศไทยดาวน์โหลดสูงสุด 2018-01-05 ระวังภัย ช่องโหว่ Meltdown, Spectre อาจถูกขโมยข้อมูลในเครื่องได้ผ่านซีพียู กระทบระบบปฏิบัติการ Windows, Linux, Mac 2017-10-30 แจ้งเตือน มัลแวร์เรียกค่าไถ่สายพันธุ์ใหม่ Bad Rabbit แพร่โดยปลอมเป็น Adobe Flash Update และผ่านช่องทาง SMB 2017-09-13 ระว